หน้าเว็บ

วันอังคารที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2555

โครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา


โครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา


งานวิจัยเรื่อง ของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า

ชื่อผู้ทำวิจัย นางสาวตรีชดา โหมดตาด
รหัสประจำตัว 531131....
สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบประยุกต์ศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัย.....................................................................
............................................................................................................................................

ลงชื่อ .............................................
(...........................................)





คณบดีหรือรองคณบดีพิจารณาเห็นชอบ
................................................................................................................................................

ลงชื่อ ............................................
(...........................................)






ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษมประเภทนักศึกษา


ส่วน ก : ลักษณะทั่วไปของโครงการวิจัย
1. ปีการศึกษาที่เสนอขอรับทุน ..2555..............
2. ประเภทการวิจัย
( ) การวิจัยสำรวจ ( ) การวิจัยเชิงทดลอง ( ) การวิจัยและพัฒนา
3. งบประมาณที่เสนอขอทุน 5,000 บาท
4. ระยะเวลาในการทำวิจัย 1 ปี

ส่วน ข : รายละเอียดการทำวิจัย
1. ชื่อโครงการวิจัย ของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า
ART DESIGN PROJECT OF GIASSWARE PAINTING: BUTTERFLY AND FLOWER
2. ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
ของเล่นฝึกพัฒนานการของเด็กมีหลากหลายรูปแบบท่ามกลางผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของเล่นเพื่อฝึกพัฒนาการเด็กนั้นมีหลายรูปแบบ แต่สำหรับเด็กพิเศษนั้นเราตองดูว่าตัวเด็กเหล่านั้นต้องการสิ่งไหน มีความบกพร่องในด้านใด ทางร่างกายสติปัญญา และอารมณ์ จำเป็นต้องได้รับการ กระตุ้น ช่วยเหลือหรือบำบัด ฟื้นฟูและให้การเรียนการสอนที่เหมาะ กับลักษณะ และความต้องการของเด็ก คำว่า เด็กที่มีความต้องการพิเศษมาจากคำภาษาอังกฤษว่า Children with special needs เป็น คำใหม่ และเพิ่งใช้กันอย่างแพร่หลาย ในระยะไม่กี่ปีที่ผ่านมา
การออกแบบงานของเล่นเด็กชิ้นนี้เป็นงานที่ออกแบบเพื่อกลุ่มเด็กที่มีลักษณะพิเศษ เพื่อที่เราจะเสริมให้พัฒนาการของเด็กเหล่านั้นมีอาการที่ดีขึ้น
ปัจจุบันผู้คู่แข่งในการออกแบบทางการตลาดมีอยู่มากมายดังนั้นเราจึงต้องหาความแตกต่างทางการตัวผลิตภัณฑ์ที่จะออกมาภาพลักษณ์ที่โดดเด่นกว่าคนอื่นเพื่อเป็นที่สะดุดตาและน่าจดจำแก่เด็กที่พบเห็น โดยการใช้ชุดสีแบบหลักการใช้สีประกอบรวมแบบวรรณะ(TONE) โดยจะเน้นให้เกิดความกลมกลืนด้วยสีต่างวรรณะจะไม่ใช้สีเพิ่งวรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว โดยจะกำหนดอัตราการใช้สีให้เกิดการตัดกันมากน้อยไว้ การออกจะได้ดูดึงดูดสายตาจากเด็กได้




3. วัตถุประสงค์การวิจัย
3.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า
3.2 เพื่อผลิตต้นแบบเหมือนจริง (PROTOTYPE) ของของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า

4. สมมติฐานการวิจัย

5. นิยามศัพท์เฉพาะ
ของเล่น หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่มีการออกแบบและทำขึ้นมาเพื่อให้เด็กเล่น ของเล่นเป็นสิ่งสำคัญต่อการเรียนรู้ของเด็กทุกระดับเพื่อเป็นการพัฒนา พัฒนาของเด็กในวัยต่าง ๆปัจจุบันวิวัฒนาการของ “ของเล่นเด็ก” ได้เจริญก้าวหน้าไปมาก ไม่ว่าจะเป็นการผลิตของเล่นที่เป็นรูปเหมือนต่างๆ เช่น ตุ๊กตา หรือของเล่นที่เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ของเล่นพื้นบ้านไทยที่มีคุณค่าได้ถูกลืมไปอย่างน่าเสียดาย เช่น ป๋องแป๋ง จักจั่น ปืนก้านกล้วย ลูกข่าง ล้อหลอดด้าย อีโป๊ะ เดินกะลา ม้าก้านกล้วย หลายคนเมื่อได้ยินชื่อของเล่นพื้นบ้านเหล่านี้ ทำให้หวนนึกถึงอดีตที่คุณปู่ คุณย่าเคยทำให้เล่นอย่างสนุกสนานเมื่อวัยเด็ก เด็กสมัยนี้อาจนึกไม่ออกว่าของเล่นเหล่านี้ หน้าตาเป็นอย่างไร เล่นอย่างไร เพราะของเล่นทุกวันนี้ ส่วนใหญ่ผลิตจากโรงงานอุตสาหกรรม มีลักษณะเหมือนกันหมด เล่นกันช่วงระยะเวลาสั้นๆ ตามกระแสโฆษณา หรือลด แลก แจก แถมมากับสินค้าอื่นๆ“ของเล่นพื้นบ้าน” เน้นวัสดุที่ทำจากธรรมชาติ และการเล่นมีความสัมพันธ์กับธรรมชาติขนบธรรมเนียม ประเพณี ที่สำคัญคือสายใยของครอบครัว ที่ต้องช่วยกันหาวัสดุ ช่วยกันประดิษฐ์และเล่นร่วมกัน ผู้ใหญ่คอยแนะนำการเล่น การช่วยป้องกันอันตราย และสอดแทรกการสอนมารยาทการเล่น ทำให้เด็กมีความรัก ความอบอุ่น ต่างจากของเล่นสมัยใหม่ที่เน้นความรุนแรง ต่อสู้แข่งขันที่สำคัญผู้ปกครองไม่มีส่วนร่วมในการเล่นของเด็ก
การออกแบบ หมายถึง การเลือกสรรส่วนประกอบต่างๆทางด้านศิลปะมาจัดเป็นรูปแบบต่างๆขึ้นรวมถึงแนวความคิดของศิลปินในการจัดองค์ประกอบศิลป์ เช่นการจัดทิศทาง ขนาด รูปร่างของเส้น มุม และรูปทรงต่างๆ โดยเราต้องคำนึงถึงการจัดวาง ความสมดุลสิ่งเหล่านี้ที่เป็นส่วยประกอบของการออกแบบ



6. ขอบเขตการวิจัย
6.1 แบบร่าง(IDEA SKETCH)
6.2 แบบที่ทำการสรุป(CONCEPT SKETCH)
6.3 แบบเพื่อนำไปผลิต(WORKING DRAWING หรือ ART WORK)
6.4 ต้นแบบเหมือนจริง(PROTOTYPE)
6.5 รายงานการวิจัยจำนวน 3 ฉบับ
6.6 ซีดีรายงานการวิจัยจำนวน 1 ชุด

7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 กระบวนการออกแบบของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า
7.2 ต้นแบบเหมือนจริงของของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า

8. การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารอ้างอิง
ในการวิจัยเรื่องการออกแบบของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ตรงตามConcept ที่กำหนดไว้และเป็นงานที่ถูกต้องตามหลักทฤษฎีของสีและการจัดองค์ประกอบต่างๆ ผู้ศึกษาจึงใช้หลักการที่เกี่ยวข้องดังนี้
8.1 ทฤษฎี
8.1.1 การออกแบบลวดลาย
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ การรู้จักคิด วางแผน ในการสร้างสรรค์สิ่งที่มีอยู่แล้วนำมาปรับปรุง ดัดแปลงแก้ไข หรือสร้างสรรค์ใหม่โดยใช้วิธีการต่างๆ ทำให้เกิดความงาม เพื่อการประดิษฐ์ตกแต่งใหม่ให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย (เอมอร วิศุภกาญจน์,2542 : 2)
8.1.2 หลักการใช้สี
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ สีมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นอย่างมากในด้านของการรับรู้ อารมณ์ความรู้สึก การที่เราจะกำหนดสีลงในลวดลาย ผู้ออกแบบควรรับรู้หลักการใช้สีเพื่อจะได้กำหนดสีได้ถูกต้อง เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และประโยชน์ใช้สอยอีกด้วย
(ดุษฎี สุนทรารชุน,2531 :107)
8.1.3 หลักการใช้สีประกอบร่วมแบบวรรณะ (TONE)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ สีเราจะนำมาระบายนั้นส่วนใหญ่มักจะใช้สีประกอบร่วมแบบ
วรรณะใดวรรระหนึ่ง แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ที่ทำการออกแบบที่จะมุ่งที่ทำให้ผู้ดูเกิดความรู้สึก
ไปในทางร้อนหรือเย็น หรืออีกทางหนึ่งก็คือทำให้เกิดการผสมผสานและกลมกลืนกัน การใช้สี
ประกอบร่วมวรรณะจะไม่ใช้วรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว โดยกำหนดหลักการใช้สีไว้ ในอัตรา
50/50,60 /40,80/20 (คนึง จันทร์ศิริ:มปป.)

8.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
8.2.1 การออกแบบของเล่นเด็กนั้นนั้น,อาจแบ่งรูปแบบของการออกแบบของเล่นเด็ก
ได้เป็นสามประเภท,คือ ของเล่นที่ส่งเสริมด้านภาษา ,ของเล่นที่ส่งเสริมด้านคณิตศาสตร์ ,ของเล่นที่ให้รู้จักสิ่งต่างๆ และฝึกการสังเกตเปรียบเทียบ ,ของเล่นที่ฝึกประสาทตาและมือให้ทำงานสัมพันธ์กัน ,ของเล่นที่ทำให้กล้ามเนื้อเล็กกล้ามเนื้อใหญ่แข็งแรง ,ของเล่นที่ให้เล่นเลียนแบบและสมมุติตามจินตนาการ ,ของเล่นที่ให้เล่นสร้างและส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ ,ของเล่นที่ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างกลไกของของเล่น ,ของเล่นที่ฝึกแก้ปัญหา เป็นต้น
8.2.2 ของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า พบว่า การออกแบบของเล่นเด็กพิเศษต้องคำนึงสัดส่วนของเด็กหรือสัดส่วนของกลุ่มผู้บริโภคและสิ่งที่กลุ่มบริโภคต้องการ

9. ระเบียบวิธีวิจัย
9.1 ประชากร
กลุ่มผู้บริโภคennaratin จำนวน 200คน ของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า
9.2 การสุ่มตัวอย่าง
ใช้การสุ่มแบบง่าย ตามสูตรยามาเน
จากนั้นจึงกำหนดกระบวนการตามกรอบการวิจัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้
9.2.1 ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิต (PRE-PRODUCTION)
- กำหนดประเด็นของปัญหา ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม เพื่อ
ตั้งสมมติฐาน
- จัดทำแบบร่าง (IDEA SKETCH) และทำการสรุปแบบตามสมมติฐาน
(CONCEPT SKETCH)
9.2.2 ขั้นตอนการผลิต (PRODUCTION)
- แสดงกระบวนการผลิตต้นแบบเหมือนจริง
9.2.3 ขั้นตอนหลังการผลิต ( POST PRODUCTION)
-ประเมินผลด้วยเครื่องมือที่สร้างไว้โดยมีความสัมพันธ์กับลักษณะของ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลการวิจัยในรูปแบบความเรียง
9.3 เครื่องมือในการวิเคราะห์มูล
- แบบสอบถามความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์
- แบบสัมภาษณ์
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
- วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ( X ) จากร้อยละ
10. แผนการดำเนินงานตลอดโครงการ
กิจกรรม
..
55
..
55
..
56
..
56
หมายเหตุ
1.การวางแผนก่อนการผลิต
- ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
- แบบร่าง
- สรุปแบบ








2.กระบวนการผลิต
- สรุปแบบ









3.กระบวนการหลังการผลิต
- ทดสอบสมมติฐาน
- วิเคราะห์ข้อมูล
- แปรผล
- เรียบเรียงรายงานการวิจัย










11. รายละเอียดงบประมาณ
11.1 ค่าใช้สอย
ลำดับ

รายการ
ราคาต่อ
หน่วย
จำนวน
รวมเงิน
หมายเหตุ
1.
ค่าจ้างพิมพ์
10 บาท
200 แผ่น
2,000 บาท

2.
ค่าจ้างปริ้นสี
5 บาท
200 แผ่น
1,000 บาท

รวมเป็นเงิน
(…สามพันบาทถ้วน...)


3,000 บาท


11.2 ค่าวัสดุ (ค่าวัสดุที่ผลิตผลงานต้นแบบเหมือนจริง)
ลำดับ

รายการ
ราคาต่อ
หน่วย
จำนวน
รวมเงิน
หมายเหตุ
1.
ของเล่นสำหรับฝึกพัฒนาการเด็กอายุ 3-6
ขวบ : สำหรับเด็กบ้านเฟื่องฟ้า
- ไม้เนื้อแข็ง
- สี
- เลกเกอร์เคลือบเงา (แบบใส)
- แปลงทาสี

500 บาท
100 บาท
100 บาท
50 บาท


3 แผ่น
3 กระป๋อง
1 กระป๋อง
2 ด้าม


1,500 บาท
300 บาท
100 บาท
100 บาท

รวมเป็นเงิน
(...สองพันบาทถ้วน...)


2,000 บาท

รวมงบประมาณทั้งสิ้นเป็นเงิน... 5,000… บาท
(...ห้าพันบาทถ้วน...)
หมายเหตุ : ถัวเฉลี่ยทุกรายการ


           ลงชื่อ .............................................
                                                                                                                                 ( นางสาวตรีชดา โหมดตาด )
                                                                                                                                             ผู้ขอทุนวิจัย
                                                                                                                                        ......../........./..........








ประวัติผู้วิจัย

ชื่อ-สกุล นางสาวตรีชดา โหมดตาด
Ms.TREECHADA HMODTAD
รหัสประจำตัว 531131....
ที่อยู่ปัจจุบัน
-

หมายเลขโทรศัพท์มือถือ -
หมายเลขโทรศัพท์ที่พักอาศัย -

ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษา โรงเรียนวัดลำกะดาน
- มัธยมศึกษา โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒
- วิทยาลัยศิลปหัตถกรรมกรุงเทพ
- กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบประยุกต์ศิลป์ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม


                                                           …………………………………
                                                                             ( นางสาวตรีชดา โหมดตาด )
                                                                            ผู้วิจัย
                                                                                                                                    วันที่......./เดือน..../..........